“เทคโนโลยีดิจิทัล” บทบาทสำคัญในการบูรณาการระบบ Technology Ecosystem ภายในระบบนิเวศทางธุรกิจ ตัวอย่างธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ (1)

        เทคโนโลยีดิจิทัลมีบทบาทสำคัญต่อทุกธุรกิจ ทั้งยังสร้างผู้เล่นใหม่ในตลาดได้ง่ายขึ้น พร้อมกับสร้างรูปแบบความสัมพันธ์ใหม่ๆ ที่หลากหลายกว่ายุคเดิม ดังนั้น ผู้ประกอบการจำเป็นต้องเรียนรู้แนวคิดและรูปแบบการทำธุรกิจยุคใหม่ พร้อมใช้เทคโนโลยีและแพลตฟอร์มที่สามารถทำงานร่วมกันระหว่างธุรกิจ เพื่อเชื่อมโยงทรัพยากรและข้อมูลที่มองไม่เห็นเข้าด้วยกันตลอดทั้งภายในและภายนอกองค์กร ทำให้เพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมและธุรกิจจะอยู่รอดและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน

ทำไมการบูรณาการระบบนิเวศทางเทคโนโลยี (Technology Ecosystem) จึงสำคัญ ในระบบนิเวศทางธุรกิจ

        เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นพื้นฐานสำคัญของการบูรณาการให้ธุรกิจทั้งหมดภายในระบบนิเวศทางธุรกิจ(Business Ecosystem) ดำเนินงานกันได้อย่างราบรื่น การใช้เครื่องมือดิจิทัลจะช่วยสร้างวิธีการทำงานให้ง่าย รวดเร็ว  และเชื่อมโยงกระบวนการทางธุรกิจและระบบทั้งหมดเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน สร้างฐานข้อมูลที่เกิดจากการรวบรวมผลของกระบวนการที่สามารถนำมาใช้ตัดสินใจและปรับปรุงแนวทางธุรกิจ เกิดการทำงานแบบเครือข่ายและประมวลผลร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

        นอกจากนี้ ทุกองค์ประกอบในระบบนิเวศทางธุรกิจจำเป็นต้องเชื่อมต่อกันและทำงานได้จริง      โดยไม่มีข้อมูลจำเป็นถูกแยกออกมา  นั่นเป็นสาเหตุที่การบูรณาการระบบนิเวศทางเทคโนโลยี (Technology Ecosystem) ขององค์กรมีความสำคัญพอๆ   กับการมีเครื่องมือที่เหมาะสม เทคโนโลยีสำคัญที่ช่วยสนับสนุนการบูรณาการระบบนิเวศทางธุรกิจ เช่น

1.Could Computing

เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง เปลี่ยนรูปแบบการทำงานของซอฟต์แวร์หรือแอปพลิเคชัน ด้วยบริการที่เรียกว่า Software as a Service (SaaS) โดยการเข้าใช้งานผ่านทาง Web Browser ที่ใช้งานสะดวกเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา เทคโนโลยี Could จึงช่วยให้สามารถบูรณาการระบบนิเวศทางธุรกิจระหว่าง องค์กรธุรกิจ ซัพพลายเออร์ ลูกค้า และผู้เกี่ยวข้อง เท่าที่จำเป็นต้องเชื่อมโยงกันเป็นไปโดยง่าย ข้อมูลที่ได้มีความโปร่งใส ต่อเนื่อง ติดตามได้แบบเรียลไทม์ ทำให้แต่ละองค์กรสามารถติดตามข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับขั้นตอนการดำเนินงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างราบรื่น ที่สำคัญยังมีความยืดหยุ่นในการปรับขนาดการใช้งานตามต้องการเมื่อธุรกิจเติบโตขึ้น โดยธุรกิจจะต้องเลือกแอปพลิเคชันที่ปรับขนาดได้โดยไม่ต้องยุ่งยากย้ายไปเครื่องมืออื่น

2.Internet of Things (IoT)

อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมีบทบาทสำคัญในการเชื่อมต่ออุปกรณ์หรือเครือข่ายหลายเครือข่ายเข้าด้วยกันอย่างรวดเร็วและครอบคลุม เพื่อประโยชน์ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อมต่อ และรับ-ส่งข้อมูลจากส่วนของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ เข้ามาวิเคราะห์ในระบบได้ โดยสิ่งสำคัญที่ต้องคำนึงคือความเสถียรและความปลอดภัยของการจัดเก็บข้อมูล

3.APIs, Integration
เป็นองค์ประกอบสำคัญของการพัฒนาโซลูชัน เพื่อเชื่อมต่อ ปรับปรุง ลดกระบวนการที่ซ้ำซ้อนระหว่างการทำงานต่างระบบ และลดช่องว่างระหว่างเครื่องมือ ที่สำคัญคือทำให้ผู้ใช้งานสามารถจัดการหรือใช้ข้อมูลที่มาจากต่างแอปพลิเคชันบนแพลตฟอร์มเดียว สร้างกระบวนการทำงานที่สัมพันธ์กันเป็นภาพใหญ่ เพราะการใช้เทคโนโลยี API ช่วยบูรณาการและมองเห็นแบบ end-to-end เช่น การใช้ระบบ API เชื่อมต่อกับฐานข้อมูลในการจัดการคำสั่งซื้อของลูกค้าระหว่างแพลตฟอร์ม e-Marketplace และ Warehouse Management System ช่วยลดความผิดพลาดและลดระยะเวลาในการทำงาน
4.AI, Data Analysis

การบูรณาการด้วยปัญญาประดิษฐ์ (AI) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึก (Data Analysis) เข้ากับระบบนิเวศทางธุรกิจ ทำให้สามารถวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลจำนวนมหาศาลอย่างมีประสิทธิภาพและแม่นยำ และได้ผลลัพธ์ของข้อมูลและรายงานที่มีคุณภาพ นำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการทำงาน เช่น การตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูล การจัดสรรทรัพยากรภายในระบบนิเวศอย่างมีประสิทธิภาพ คาดการณ์รูปแบบความต้องการของลูกค้าและปรับแผนงานให้สอดคล้องกัน คาดการณ์เวลาจัดส่งทำให้ลูกค้าพึงพอใจ ลดเวลารอคอย และลดความแออัดของคลังสินค้า เพิ่มความน่าเชื่อถือแก่ธุรกิจ

ประโยชน์ของการสร้างระบบนิเวศทางเทคโนโลยี (Value of Technology Ecosystem)

ติดตาม บทความต่อเนื่อง “เทคโนโลยีดิจิทัล” บทบาทสำคัญในการบูรณาการระบบ Technology Ecosystem ภายในระบบนิเวศทางธุรกิจ ตัวอย่างธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ (2) ในสัปดาห์ถัดไป

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on print
Print
Share on email
Email
Rinyapat Sakkamolwich

Rinyapat Sakkamolwich

Business Development & Corporate Marketing Manager

Related

NOSTRA LOGISTICS TMS เพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง Last-Mile Logistics และ e-Commerce

ความต้องการอีคอมเมิร์ซที่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สร้างแรงกดดันด้านการจัดส่งสินค้า ทั้งส่วนของผู้ผลิตสินค้า 1PL ก็มีการขยายการขายสินค้า จากการค้าส่งเป็นค้าปลีก โดยจัดส่งสินค้าตรงถึงผู้บริโภค รวมถึงผู้ให้บริการขนส่งและโลจิสติกส์ทั้ง 2PL และ 3PL เพราะการสั่งสินค้าผ่านระบบอีคอมเมิร์ซนั้น

Read More »

8 จุดเด่น NOSTRA LOGISTICS ePOD บริหารงานจัดส่งแบบมืออาชีพในยุคออนไลน์

ระบบ ePOD ไม่ใช่ของใหม่ในงานโลจิสติกส์ แต่เป็นระบบที่จำเป็นสำหรับมาตรฐานการบริการขนส่งในปัจจุบัน เพราะ ePOD จะช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในขั้นตอนการบริหารจัดการงานจัดส่ง การติดตามหลักฐานการจัดส่ง ไปจนถึงบันทึกค่าใช้จ่ายระหว่างขนส่ง

Read More »

NOSTRA LOGISTICS แพลตฟอร์มบริหารงานขนส่ง รับมาตรฐาน Q-Bus ยกระดับการบริการสำหรับรถโดยสารไม่ประจำทาง

รถโดยสารไม่ประจำทางคือหนึ่งในระบบการคมนาคมขนส่งที่ธุรกิจเลือกใช้ในการขนส่งผู้โดยสารเพื่อการค้าหรือธุรกิจของตนเองในเส้นทางที่กำหนดไว้ และเป็นหนึ่งในประเภทรถที่รวมอยู่ในแผนของกรมการขนส่งทางบกที่มุ่งยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยรถโดยสารสาธารณะ ทั้งด้านโครงสร้างความมั่นคงแข็งแรงของตัวรถ การนำระบบ GPS มาใช้กำกับติดตามรถ และการติดตั้งอุปกรณ์เพื่อความปลอดภัยภายในรถ ซึ่งผู้ประกอบการขนส่งต้องจัดให้มีและตรวจสอบให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ

Read More »

จีไอเอส ดันแพลตฟอร์ม NOSTRA LOGISTICS ยึดหลัก ESG ตอบโจทย์อุตสาหกรรมโลจิสติกส์

จีไอเอส ขยายเป้าการทำงาน เดินหน้าผลักดันเทคโนโลยี NOSTRA LOGISTICS นวัตกรรมที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง ลดการใช้พลังงาน ลดต้นทุน และปรับปรุงกระบวนการให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สนับสนุนการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนด้วยระบบบริหารจัดการงานขนส่งอัจฉริยะ (NOSTRA LOGISTICS TMS) ให้ผลตอบแทนการลงทุนได้สูงสุดถึง 15% สอดรับกลยุทธ์ ESG เพื่อโลก และธุรกิจเติบโตไปพร้อมกัน

Read More »

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม

สงสัยตรงไหน ไม่ต้องเก็บไว้
เรามีทีมงานที่พร้อมจะช่วยตอบทุกคำถามของคุณ

02-678-0963

Get in Touch

โปรดระบุความต้องการของท่าน

หนังสือให้ความยินยอมสำหรับการรักษาความปลอดภัยข้อมูลส่วนบุคคล

บริษัท จีไอเอส จำกัด

การเคารพสิทธิในความเป็นส่วนตัวของท่าน

        บริษัท จีไอเอส จำกัด ตระหนักดีว่าท่านมีความประสงค์ที่จะได้รับความปลอดภัยสูงสุดในสิทธิความเป็นส่วนตัวของท่าน บริษัทฯ จึงให้ความสำคัญ และ เคารพสิทธิในความเป็นส่วนตัวของท่าน ในการดำเนินการเก็บรวมรวม ใช้ ประมวลผลและเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน ที่สามารถระบุตัวตนของท่านได้ อาจรวมถึง ชื่อ นามสกุล วันเดือนปีเกิด สถานภาพสมรส เลขประจำตัวประชาชน เลขหนังสือเดินทาง ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล ไอดีไลน์ รูปถ่าย ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว หมายเลขไอพีแอดเดรส แม็กแอดเดรส หรือไอดีคุ๊กกี้ หรือข้อมูลอื่นใดที่เป็นข้อมูลส่วนบุคคลภายใต้กฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล โดยบริษัทฯ จะดำเนินการโดยใช้มาตรการที่เข้มงวดในการรักษาความปลอดภัยตามวัตถุประสงค์ที่ท่านได้ให้ความยินยอมไว้เท่านั้น ตลอดจนป้องกันมิให้มีการนำข้อมูลส่วนบุคคลของท่านไปใช้โดยมิได้รับการอนุญาตจากท่านก่อน

การเก็บรวบรวม ใช้ และประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล

         บริษัทฯ จะใช้ข้อมูลของท่านเพื่อประกอบการดำเนินธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับประโยชน์ของท่านในฐานะผู้ติดต่อและ/หรือลูกค้า ตามวัตถุประสงค์ที่ปรากฎในตารางด้านล่างนี้ ซึ่งบางครั้งอาจเป็นการปฏิบัติตามสัญญา กฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องด้วย

วัตถุประสงค์ในการใช้

ระบุประเภทข้อมูลส่วนบุคคล

 

ระยะเวลา

เพื่อใช้ในการลงทะเบียนเพื่อรับข้อมูลสินค้าและบริการ ของบริษัทฯ

– ชื่อ สกุล

– เบอร์ติดต่อ

– email

– หน่วยงาน

– ที่อยู่ที่ทำงาน

5 ปี

การเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล

บริษัทฯ จะไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของท่าน ตลอดจนจะป้องกันมิให้มีการนำข้อมูลส่วนบุคคลของท่านไปใช้โดยพลการ ซึ่งอาจจะมีการเปิดเผยข้อมูลนั้น ๆ เป็นไปโดยถูกต้องตามกฎหมาย หรือตามคำสั่งของหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง

บริษัทฯ จะเคร่งครัดไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนอกเหนือจากที่ระบุไว้ เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากท่าน

สิทธิที่เกี่ยวกับข้อมูลของท่าน

ท่านสามารถใช้สิทธิที่เกี่ยวกับข้อมูลของท่านโดยใช้ความเป็นของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลของท่านตามที่บริษัทฯ แจ้งท่านไว้ในหนังสือฉบับนี้

  1. สิทธิขอเข้าถึงและขอรับสำเนาข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตนซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล หรือขอให้เปิดเผยถึงการได้มาซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลดังกล่าวที่ตนไม่ได้ให้ความยินยอม
  2. สิทธิขอรับข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวข้องกับตนจากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลได้ ในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลได้ทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลนั้นอยู่ในรูปแบบที่สามารถอ่านหรือใช้งานโดยทั่วไปได้ด้วยเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ทำงานได้โดยอัตโนมัติและสามารถใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลได้ด้วยวิธีการอัตโนมัติ รวมทั้งมีสิทธิ ขอให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลในรูปแบบดังกล่าวไปยังผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่นเมื่อสามารถทำได้ด้วยวิธีการอัตโนมัติ หรือ ไปยังผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลอื่นโดยตรง เว้นแต่โดยสภาพทางเทคนิคไม่สามารถทำได้
  3. สิทธิคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้  หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน
  4. สิทธิขอให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลดำเนินการลบ หรือทำลาย หรือทำให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้
  5. สิทธิขอให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลระงับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล
  6. สิทธิขอให้ดำเนินการแก้ไขข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ และทำให้ข้อมูลเป็นปัจจุบัน
  7. สิทธิในการขอถอนความยินยอม ซึ่งท่านสามารถใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจะถอนความยินยอมเมื่อใดก็ได้ โดยท่านสามารถแจ้งมายังสถานที่ติดต่อ หรือวิธีการติดต่อที่บริษัทฯ แจ้งท่านไว้ในหนังสือฉบับนี้

สถานที่ติดต่อ และวิธีการติดต่อ

ในกรณีที่ท่านต้องการความช่วยเหลือจากบริษัทฯ หรือ หากมีข้อสงสัยใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของท่าน สามารถติดต่อสอบถามผ่านทางช่องทางที่กำหนดไว้ ดังนี้

บริษัท จีไอเอส จำกัด

ที่อยู่ 202 ถนนนางลิ้นจี่ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพมหานคร 10120

โทรศัพท์:   02-678-0200

อีเมล์:   dpo@cdg.co.th